-
บันทึกร่องรอยการเดินทางลงพื้นที่ร่วมเรียนรู้ EP.3 จังหวัดกาญจนบุรี ลงพื้นที่ “เรียนรู้” จากประสบการณ์การทำงาน ในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา จ.กาญจนบุรี บันทึกร่องรอยการเดินทางลงพื้นที่ร่วมเรียนรู้ EP.3 จังหวัดกาญจนบุรี เมื่อบทความที่แล้ว EP.1 ที่ได้บอกที่มาของการใช้การประเมินเพื่อการพัฒนา หรือที่เรียกว่า “DE” ใช้ในการประเมินพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา โดยคณะผู้ประเมินอิสระจาก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สำหรับ […]
-
หลักสูตรฐานสมรรถนะ หลักการ โครงสร้าง ความท้าทาย ความต้องการ และการนำหลักสูตรไปใช้ ของสถานศึกษานำร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา สบน. ขอเชิญคณะผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษานำร่องที่เข้าร่วมโครงการวิจัยฯของ สวก.สพฐ. พร้อมศึกษานิเทศก์ พี่เลี้ยง และผู้เกี่ยวข้องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา และผู้สนใจ เข้าร่วมแลกเปลี่ยนและการชี้แจงการเห็นชอบกรอบหลักสูตรสถานศึกษาฐานสมรรถนะของสถานศึกษานำร่องในพ […]
-
การปฐมนิเทศและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “บทเรียนทรงพลัง” เพื่อการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา สำนักงานบริหารพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา (สบน.) ขอเชิญคณะผู้เสนอจัดต้งพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเพิ่มเติม ผู้จัดการศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาเดิม ผู้เกี่ยวข้อง และผู้สนใจ เข้าร่วมการปฐมนิเทศเพื่อเรียนรู้ หลักการ แนวคิด เป้าหมาย และทิศทางการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้บทเ […]
-
ร่วมให้ข้อเสนอแนะ “มาตรฐานข้อมูลและมาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูลการจัดการศึกษาของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาและสถานศึกษานำร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา” เมื่อวันที่ 18 – 20 กรกฎาคม 2565 ที่ผ่านมา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสำนักงานบริหารพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ได้จัดประชุมเชิงปฏิบัติการคณะทำงานมาตรฐานข้อมูลและมาตรฐานข้อมูลการแลกเปลี่ยนข้อมูลการจัดการศึกษาของพื้นที่นวัตกรรม […]
-
การนำเสนอวิสัยทัศน์ของจังหวัดเชียงใหม่ต่อคณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2565 โดย นางยุพิน บัวคอม ศึกษาธิการจังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ เป็น 1 ใน 8 จังหวัดนำร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา กำหนดทิศทางการขับเคลื่อนโดยการใช้แผนพัฒนา แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนของพื้นที่นวัตกรรมจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งขณะนี้อยู่ในห้วงปี 2565 – 2569 มีการวิเคราะห์แนวโน้มอนาคต […]