-
จังหวัดกระบี่ได้พัฒนาโมเดลนวัตกรรมการศึกษาที่มุ่งเน้นการเรียนรู้เชิงประจักษ์ ผ่านแนวคิดที่เรียกว่า “Krabi Localized Innovative Education Model (KLIEM)” ซึ่งเป็นการนำเอาบริบท วัฒนธรรมท้องถิ่นและทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ในจังหวัดกระบี่มาใช้เป็นฐานในการพัฒนาหลักสูตรและกิจกรรมการเรียนการสอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและการประมงที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดกระบี่ มุ่งเน้นการพัฒนา […]
-
Sukhothai Education Sandbox ขับเคลื่อนการศึกษาด้วย พ.ร.บ. พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา จังหวัดสุโขทัยเข้ามาเป็นพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาตั้งแต่ พ.ศ. 2565 เป็นหนึ่งใน 20 จังหวัดพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ตามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การกำหนดพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2565 การขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดสุโขทัย มีคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมจังหวัดสุโขทัย ม […]
-
“พลเมืองโลกยุคใหม่ เข้าใจสังคม” มูลนิธิเอเอฟเอส ประเทศไทย “จับมือ” กรุงเทพมหานคร นำร่องพื้นที่นวัตกรรมฯ โรงเรียนเสนานิคมฯ กทม. วันที่ 27 กันยายน 2566 นายขจิต ชัชวานิชย์ ปลัดกรุงเทพมหานคร และนายสนั่น อังอุบลกุล ประธานกรรรมการมูลนิธิการศึกษา และวัฒนธรรมสัมพันธ์ไทย-นานาชาติ (เอเอฟเอส ประเทศไทย) ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างกรุงเทพมหานคร และ เอเอฟเอส ประเทศไทย ว่าด้วยการประสานความร่วมมือโครงการ […]
-
เมื่อวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2567 นายสุวิทย์ บึงบัว ผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาหลักสูตรและสื่อการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยี พร้อมคณะทำงานจากสำนักงานบริหารพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เป็นผู้แทน สพฐ. ลงพื้นที่ติดตามความก้าวหน้าผลการดำเนินงานพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา และให้กำลังใจสถานศึกษานำร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดสุโขทัย จำนวน 14 แห่ง โดยในวันที่ 29 สิงหาคม 2567 ได้เดินทางไปเยี่ยมโรงเรียนบ้านท่าชุม(ประ […]
-
ประกาศรับข้อเสนอเชิงหลักการ (Concept Proposal) ของกรอบการวิจัย “การยกระดับและขับเคลื่อนเพื่อการขยายผลพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา” ประจำปีงบประมาณ 2568 สำนักงานบริหารพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา (สบน.) ขอเชิญชวนผู้นำการเปลี่ยนแปลง/ผู้ร่วมปฏวัติการศึกษา/แกนนำผู้ขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ทั้ง 20 พื้นที่ และผู้สนใจ เข้าร่วมเสนอเชิงหลักการ (Concept Proposal) ของกรอบการวิจัย “การยกระดับและขับเคลื่อ […]