-
การแก้ไขกฎระเบียบด้านบุคลากรเป็นเครื่องมือสำคัญชิ้นหนึ่งของ พ.ร.บ.พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 เป็นที่ทราบดีว่า บุคลากรในหลายพื้นที่มีความคาดหวังอย่างมากว่าเครื่องมือนี้จะช่วยให้การดำเนินงานในพื้นที่นวัตกรรมเป็นไปอย่างคล่องตัวมากขึ้น ทว่า ก็เป็นที่เข้าใจโดยแพร่หลายเช่นกันว่า การแก้ไขกฎระเบียบด้านบุคลากรเป็นเรื่องที่ซับซ้อนและอาจต้องใช้เวลานาน มาถึงวันนี้เป็นเวลากว่า 9 เดือนหลังจากประกาศใช้ พ. […]
-
เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2563 ได้มีโอกาสโทรศัพท์สัมภาษณ์ ผอ.อะหมาร สันนาหู ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านควนเก ซึ่งเป็น 1 ใน 10 โรงเรียนนำร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดสตูล เพื่อสรุปข้อมูลประกอบการเตรียมการกำหนดวันลงพื้นที่ติดตามการดำเนินงานตาม พ.ร.บ.พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 ณ จังหวัดสตูล ของคณะกรรมาธิการการศึกษา วุฒิสภา และคณะอนุกรรมการพิจารณาศึกษา ติดตาม เสนอแนะ และเร่งรัดการปฏิรูปประเทศแล […]
-
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2563 นายไกรศร วิศิษฏ์วงศ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี ประชุมรับฟังการวางแผนขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดปัตตานี ของคณะอนุกรรมการฯ ซึ่งได้วางแผนจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ในวันที่ 19-20 กุมภาพันธ์ 2563 โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือ ผู้บริหารสถานศึกษา กรรมการสถานศึกษา ครูและนักเรียน จากโรงเรียนนำร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาทั้งสิ้นจำนวน 28 โรงเรียน รวม 120 คน กิจกรรมการประชุมจะประ […]
-
โรงเรียนบ้านทางงอ สถานศึกษานำร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 1 ใน 10 ของจังหวัดสตูล ตั้งอยู่ที่ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล เป็นโรงเรียนขนาดกลาง มีจำนวนนักเรียนทั้งหมด 127 คน มีการจัดการเรียนการสอนโดยใช้นวัตกรรม “ครูสามเส้า” คือ ครูโรงเรียน ครูผู้ปกครอง และครูชุมชนรวม รวมทั้ง การมีภาคีเครือข่ายภายนอกที่เข้ามาช่วยพัฒนาส่งเสริมการดำเนินงานของโรงเรียนให้เกิดประสิทธิภาพ มีการประสานความร่วมมือในการจั […]
-
วันที่ 15 มกราคม 2563 สำนักงานบริหารพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา สพฐ. โดย ดร.อโณทัย ไทยวรรณศรี ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พร้อมด้วย ดร.พิทักษ์ โสตถยาคม รองผู้อำนวยการสำนักงานบริหารพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา น.ส.อุมาภรณ์ พัฒนะนาวีกุล และ น.ส.ภวรัญชน์ ไวสกุล นักวิชาการศึกษา ร่วมกับ นายวีรพล วีระโชติวศิน และ ดร.ปรินทร์ จิระภัทรศิลป ภาคีเพื่อการศึกษาไทย (Thailand Education Partnership: T […]