-
ในยุคที่เทคโนโลยีและความเปลี่ยนแปลงเคลื่อนตัวไปอย่างรวดเร็ว การศึกษาจำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงเพื่อเตรียมผู้เรียนให้พร้อมเผชิญกับความท้าทายที่ซับซ้อนและคาดเดาไม่ได้ การเรียนรู้ผ่านการท่องจำหรือการเรียนในตำราเพียงอย่างเดียวอาจไม่เพียงพออีกต่อไป โรงเรียนอิศรานุสรณ์ สช. จึงได้พัฒนานวัตกรรมการศึกษาที่เรียกว่า “โครงการการเรียนรู้ผ่านการลงมือทำ” (Learning by Doing Project) เพื่อสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ที่เ […]
-
ตราดเดินหน้าสร้างความเปลี่ยนแปลงในระบบการศึกษา ภายใต้แนวทาง “TRAT Model” ซึ่งเป็นโมเดลที่สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดตราดพัฒนาขึ้น โดยมีเป้าหมายสำคัญในการยกระดับการศึกษาของนักเรียนผ่านความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ด้วยแนวคิด “TRAT HI (ตราด ฮิ)” เน้นการสร้างทีมงานที่แข็งแกร่ง (Team) การพัฒนาความสัมพันธ์อันดี (Relationship) ความพยายามเพื่อความสำเร็จ (Attempt) และการดูแลช่วยเหลือ (Treat/Take care) เพื่อให้เก […]
-
จังหวัดกระบี่ได้พัฒนาโมเดลนวัตกรรมการศึกษาที่มุ่งเน้นการเรียนรู้เชิงประจักษ์ ผ่านแนวคิดที่เรียกว่า “Krabi Localized Innovative Education Model (KLIEM)” ซึ่งเป็นการนำเอาบริบท วัฒนธรรมท้องถิ่นและทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ในจังหวัดกระบี่มาใช้เป็นฐานในการพัฒนาหลักสูตรและกิจกรรมการเรียนการสอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและการประมงที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดกระบี่ มุ่งเน้นการพัฒนา […]
-
Sukhothai Education Sandbox ขับเคลื่อนการศึกษาด้วย พ.ร.บ. พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา จังหวัดสุโขทัยเข้ามาเป็นพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาตั้งแต่ พ.ศ. 2565 เป็นหนึ่งใน 20 จังหวัดพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ตามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การกำหนดพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2565 การขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดสุโขทัย มีคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมจังหวัดสุโขทัย ม […]
-
“พลเมืองโลกยุคใหม่ เข้าใจสังคม” มูลนิธิเอเอฟเอส ประเทศไทย “จับมือ” กรุงเทพมหานคร นำร่องพื้นที่นวัตกรรมฯ โรงเรียนเสนานิคมฯ กทม. วันที่ 27 กันยายน 2566 นายขจิต ชัชวานิชย์ ปลัดกรุงเทพมหานคร และนายสนั่น อังอุบลกุล ประธานกรรรมการมูลนิธิการศึกษา และวัฒนธรรมสัมพันธ์ไทย-นานาชาติ (เอเอฟเอส ประเทศไทย) ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างกรุงเทพมหานคร และ เอเอฟเอส ประเทศไทย ว่าด้วยการประสานความร่วมมือโครงการ […]